สังคมศึกษา

โครงงานบูรณาการ 8 กลุ่มสาระ 1 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

  เรื่อง ขนมเส่งเผ่ฮาละหว่า ของชาวอำเภอแม่สอด

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2


กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

มาตรฐาน ส 3.1 ม.2/2 อธิบายปัจจัยการผลิตสินค้าและบริการ และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการผลิตสินค้าและบริการ 

มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธิการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ

ตัวชี้วัด   ม.2/1 ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่าง ๆ

       ม.2/2 วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงของทางประวัติศาสตร์

          ม.2/3 เห็นความสำคัญของการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่น่าเชื่อถือ




สมาชิกดำเนินงาน

1. เด็กหญิงสุวิมล วารีรอบวนา ม.2/2 เลขที่ 19  

2. เด็กหญิงธารินทร์ ทิน้อย ม.2/2 เลขที่ 22  
3. เด็กหญิงรัชนี คะเนจรจิตกุล ม.2/2 เลขที่ 23  
4. เด็กหญิงฐิติพร ต๊ะสุ ม.2/2 เลขที่ 30


หลักการบูรณาการ



เส่งเผ่ และฮาละหว่า เป็นชื่อของขนมหวานที่มาจากประเทศพม่า "เส่งเผ่" มีลักษณะคล้ายขนมข้าวเหนียวแดง ที่ทำจากข้าวเหนียว น้ำอ้อย กะทิ ต่างกันตรงหน้าเส่งเผ่จะราดด้วยหัวกะทิแล้วปิ้ง หรือ อบหน้าจนเกรียม รสชาติหวานมัน ส่วน "ฮาละหว่า" ตัวขนมทำจากแป้งข้าวเจ้า น้ำตาลทราย กะทิ เมล็ดสาคูเล็ก หน้าขนมทำเช่นเดียวกับเส่งเผ่ มีรสชาติหวานมัน แม่ค้าจะทำขนมนี้บรรจุในถาดกลม และตัดขายเป็นชิ้นเล็ก ๆ มีขายในตลาดสดเทศบาล อำเภอแม่สอด เส่งเผ และฮาละหว่า เป็นชื่อของขนมหวานที่มาจากประเทศพม่า “เส่งเผ่” มีลักษณะคล้ายขนมข้าวเหนียวแดง ที่ทำจากข้าวเหนียว น้ำอ้อย กะทิ ต่างกันตรงหน้าเส่งเผ่ จะราดด้วยหัวกะทิแล้วปิ้ง หรือ อบหน้าจนเกรียม รสชาติหวานมัน ส่วน “ฮาละหว่า” ตัวขนมทำจากแป้ง ข้าวเจ้า น้ำตาลทราย กะทิ เมล็ดสาคูเล็ก หน้าขนม ทำเช่นเดียวกับเส่งเผ่ มีรสชาติหวานมัน แม่ค้าจะทำขนมนี้บรรจุในถาดกลม และตัดขายเป็นชิ้นเล็ก ๆ มีขายใน ตลาดสดเทศบาลอำเภอแม่สอด







ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น